วันพุธที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

ชาดก

ชาดก

คำว่า ชาดก (जातक) มาจาก ภาษาบาลี มีความหมายว่า  “เกิดคือเรื่องราวของพระพุทธเจ้า เมื่อครั้งที่เสวยพระชาติเป็นพระโพธิสัตว์ พระองค์เสวยพระชาติต่างๆ เป็นมนุษย์บ้าง อมนุษย์บ้าง เทวดาบ้าง สัตว์บ้าง เมื่อพระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมแก่ผู้ใดจะทรงยกชาดก ซึ่งเป็นเรื่องที่อิงธรรมะมาเล่าเพื่อผู้ฟังจะได้เข้าใจง่าย
ชาดกเป็นเรื่องเล่าคล้ายนิทาน บางครั้งจึงเรียกว่า นิทานชาดก

ประเภทของชาดก มี 2 ประเภท  คือ
๑. นิบาตชาดก   เป็นชาดกในพระไตรปิฎกมี ๕ เรื่อง   แบ่งออกเป็นหมวดๆ  ตามจำนวนคาถา   นับตั้งแต่ ๑ คาถาถึง ๘ คาถา   ชาดกที่มี ๑ คาถาเรียกว่า เอกนิบาตชาดก   ๒ คาถาเรียกว่า  ทุกนิบาตชาดก  ๓ คาถาเรียกว่า ตักนิบาตชาดก  ๔ คาถาเรียกว่า  จตุคนิบาตชาดก  ๕ คาถาเรียกว่า  ปัญจกนิบาตชาดก  ชาดกที่มีเกิน ๘ คาถาขึ้นไปเรียกว่า  มหานิบาตชาดก  ซึ้งมี ๑๐ เรื่อง  เรียก  ทศชาติ  หรือ  พระเจ้าสิบชาติ

๒. ปัญญาสชาดก   เป็นชาดกที่แต่งขึ้นจากนิทานพื้นเมือง  ไม่มีในพระไตรปิฎก  หรือเรียกว่า  ชาดก นิบาตมี ๕ เรื่อง  พระภิกษุชาวเชียงใหม่แต่งขึ้นเมื่อประมาณพ.ศ. ๒-๒๒  เป็นภาษามคธ  โดยเลียนแบบนิบาตชาดก  ครั้นเมื่อพ.ศ.๒๔๔-๒๔๔๘ พระบรมวงศ์เธอกรมพระสมมตอมรพันธ์  ดำรงตำแหน่งองค์สภานายก  หอพระสมุดสำหรับพระนคร  ได้ทรงแปลเป็นภาษาไทย  เรื่องปัญญสชาดกจึงแพร่หลาย




ขอขอบคุณข้อมูลจาก



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น